• มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
NSRU-Knowledge มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
  • หน้าหลัก
  • การจัดการความรู้
    การจัดการความรู้ (KM) คำสั่งคณะกรรมการ แผนการจัดการความรู้ ปฏิทินกิจกรรม (KM-Day) ผลการดำเนินงาน ข่าวประชาสัมพันธ์
  • เข้าสู่ระบบ

ระบบการจัดการองค์ความรู้


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์



ระบบการจัดการองค์ความรู้


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์



ระบบการจัดการองค์ความรู้


สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์

  • project name

    การใช้ลายมือชื่อดิจิทัล (Digital Signature) ในระบบการลาออนไลน์สำหรับบุคลากร สำนักวิทยบริการฯ


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริหารจัดการ | ระบบบริหารงาน
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 16 ธันวาคม 2567

  • project name

    การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ภายในองค์กร ARITC KM Day


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริหารจัดการ | ระบบบริหารงาน
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 09 ธันวาคม 2567

  • project name

    การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการจัดการความรู้ของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


    เจ้าของวิจัย จริยา ทิพย์หทัย
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 30 พฤศจิกายน 2565

    บทคัดย่อ
    ​            การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ (1) จัดทำเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการจัดการความรูของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (2) เพื่อพัฒนาแนวทางการจัดการความรู้ของบุคลากร สํานักวิทยบริการฯ และ (3) เป็นแหล่งองค์ความรู้ที่มีฐานข้อมูลความรู้เพื่อการแบ่งปันแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคม ชุมชน ได้ทั้งภายในและภายนอกหน่วยงาน โดยบุคลากรสามารถเข้าใช้งาน และมีส่วนร่วมในการจัดเก็บข้อมูลความรู้ ถ่ายทอดความรู้ และเข้าถึงความรู้ได้โดยสะดวก สามารถพัฒนาตนเองให้เป็นผู้รู้ และนำความรู้มาใช้ในการปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสามารถจัดการความรู้ผ่านเว็บแอปพลิเคชันดังกล่าวได้
    ​            ผู้วิจัยได้ดำเนินการพัฒนาระบบการจัดการความรู้ภายในองค์กร โดยการออกแบบ และร่วมกับผู้เชี่ยวชาญพัฒนาเว็บแอปพลิเคชัน เพื่อให้บุคลากรทุกคนสามารถเข้าใช้งาน และเข้าถึงข้อมูลความรู้ผ่านทางเว็บบราวเซอร์ทั้งบนเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์เคลื่อนที่ ด้วยเทคนิคการออกแบบหน้าเว็บไซต์แบบ Responsive Web Design เพื่อให้บุคลากรสามารถจัดการข้อมูลความรู้ และเข้าถึงความรู้ได้โดยสะดวก ผลการวิจัยพบว่า ได้จัดทำเว็บไซต์ระบบการจัดการความรู้เสร็จสิ้นแล้ว โดยได้จัดเก็บข้อมูล Job description ของบุคลากรทุกคน และคู่มือปฏิบัติงาน ได้ครบทั้ง 3 หน่วยงาน ได้แก่ สำนักงานผู้อำนวยการ ศูนย์วิทยบริการ และศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร บุคลากรสามารถเผยแพร่คู่มือปฏิบัติงาน งานวิจัย และบทความ ซึ่งเป็นองค์ความรู้ที่อยู่ในตัวบุคคล และองค์ความรู้ที่อยู่ภายในองค์การ ผ่านเว็บไซต์ดังกล่าวได้ และสามารถใช้เป็นแหล่งจัดเก็บข้อมูลองค์ความรู้ เพื่อการเผยแพร่ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ที่สามารถเข้าถึงข้อมูลความรู้ผ่านระบบการจัดการความรู้ได้ทั้งจากภายในและภายนอกหน่วยงาน

    Abstract
               
    The purposes of this research were (1) to develop a web application for Knowledge management of the Academic Resources and Information Technology Center (ARITC) of Nakhon Sawan Rajabhat University, (2) to study the development process of knowledge management for staff to use web application for the knowledge management process, and (3) to develop a knowledge sharing in community knowledge management process both inside and outside the organization. The organization personnel can both access and participate in data storage. ​
                The researcher collaborated with the programmer to develop the Knowledge Management process patterns of a web application for the ARITC staff to be able to access and share information through the Knowledge Management system via web browsers on both computer and mobile devices with Responsive Web Design techniques. Staff can use all information from the Web Application of the Knowledge Management which enhanced to access knowledge. The results showed that the Web Application for Knowledge Management has been completely developed and can be collected the organizational job description data, and operational manuals of the staff who worked in the three departments, which are the Office of the Director, Resources Center (library), and the Information and Communication Technology Center. Furthermore, the staff can publish their operational manuals, research papers, and articles, which are the knowledge that exists in the person, and the knowledge within the organization via the Web Application for Knowledge Management. The developed Web Application is a contribution of personnel knowledge sharing from all departments of the organization, which enhance the performance of the organization and provide systematically operated to improve personnel productivity.

  • project name

    จากมาตรฐาน ISO9001-2018 สู่เวอร์ชัน 2015


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริหารจัดการ | คุณภาพมาตรฐาน (ISO 9001:2008 และ ISO 9001:2015)
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 20 กุมภาพันธ์ 2565

  • project name

    การพัฒนาศักยภาพของบุคลากรจากงานประจำสู่งานวิจัย (R2R: Routine to Research)


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการวิจัย | งานวิจัย R2R
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 17 กุมภาพันธ์ 2565

  • project name

    องค์ความรู้จากการฝึกอบรม การเขียนผลงานวิชาการ คู่มือปฏิบัติงานหลัก


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริการการศึกษา และด้านการบริการวิชาการ | การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 15 กุมภาพันธ์ 2565

    ตามที่ สำนักวิทยบริการฯ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้จัดอบรมเรื่อง การเขียนผลงานวิชาการ ซึ่งเป็นการดำเนินกิจกรรมตามแผนการจัดการความรู้ภายในองค์กร เมื่อวันที่ 11–12 มิถุนายน 2562 ที่ผ่านมา และได้รับเกียรติจากคุณปภาณภณ  ปภังกรภูรินทร์ บุคลากร ระดับชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานส่งเสริมและพัฒนาความก้าวหน้าในอาชีพ กองบริหารทรัพยากรบุคคล สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ (นิด้า) โดยได้สัญญากันว่าเมื่อการจัดอบรมเสร็จสิ้นไปแล้ว จะนำเทคนิคความรู้ที่ได้รับจากวิทยากรมาเผยแพร่ให้ได้รับทราบในโอกาสต่อไป ซึ่งพอสรุปคร่าว ๆ ได้ดังนี้ 

    ทักษะสำคัญของผู้จัดทำคู่มือปฏิบัติงาน
    1. ทักษะการวิเคราะห์ (Analysis Skills)
    2. ทักษะการสื่อสาร (Communication Skills)
    3. ทักษะการออกแบบ (Design Skills)
    4. ทักษะการประเมินผล (Evaluation Skills)

    องค์ประกอบหรือโครงร่างของคู่มือปฏิบัติงาน (ตามเกณฑ์/คำนิยามของ กพอ.) มี 5 บท ดังนี้
    บทที่ 1 บทนำ ได้แก่
               ความเป็นมา/ความจำเป็น/ความสำคัญ
               วัตถุประสงค์
               ขอบเขต
               นิยามศัพท์เฉพาะ/คำจำกัดความ
    บทที่ 2 บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบ
               บทบาทหน้าที่ความรับผิดชอบของตำแหน่ง
               ลักษณะงานที่ปฏิบัติ
               โครงสร้างการบริหารจัดการ
    บทที่ 3 หลักเกณฑ์วิธีการปฏิบัติงานและเงื่อนไข
               หลักเกณฑ์การปฏิบัติงาน
               วิธีการปฏิบัติงาน
               เงื่อนไข/ ข้อสังเกต/ ข้อความระวัง/ สิ่งที่ควรคำนึงในการปฏิบัติงาน
               แนวคิด/ งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
    บทที่ 4 เทคนิคในการปฏิบัติงาน
               แผนกลยุทธ์ในการปฏิบัติงาน
               ขั้นตอนการปฏิบัติงาน
               วิธีการติดตามและประเมินผลการปฏิบัติงาน
               จรรยาบรรณ/ คุณธรรม/ จริยธรรมในการปฏิบัติงาน
    บทที่ 5 ปัญหาอุปสรรคและแนวทางในการแก้ไขและพัฒนางาน
               ปัญหาอุปสรรคในการปฏิบัตงาน
               แนวทางแก้ไขและพัฒนา
               ข้อเสนอแนะ
    บรรณานุกรม
    ภาคผนวก
     (ถ้ามี)
    ประวัติผู้เขียน

    การตั้งชื่อคู่มือปฏิบัติงาน 
    - มีความกระชับและชัดเจน
    - ทำให้ทราบขอบเขตของคู่มือ
    - ไม่ควรซ้ำกับคนอื่น
    - ไม่กว้างเกินไป
    - เป็นชื่อที่เป็นงานหลัก

  • project name

    การจัดการความรู้ (KM) การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริการการศึกษา และด้านการบริการวิชาการ | การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 15 กุมภาพันธ์ 2565

  • project name

    องค์ความรู้และเทคนิค การเขียนคู่มือการปฏิบัติงาน


    เจ้าขององค์ความรู้ จริยา ทิพย์หทัย
    ด้านการบริการการศึกษา และด้านการบริการวิชาการ | การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 05 กุมภาพันธ์ 2565

  • project name

    การวิเคราะห์การจัดทำเอกสารระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


    เจ้าของวิจัย จริยา ทิพย์หทัย
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 25 มกราคม 2565

    สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ ได้มีการนำระบบและกลไกในการประกันคุณภาพภายในเข้ามาใช้ในการจัดการองค์กร 2 ระบบคือ ระบบประกันคุณภาพการศึกษาภายใน และระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 เพื่อการพัฒนาคุณภาพ การควบคุม ตรวจติดตาม และการประเมินคุณภาพ  โดยได้เริ่มนำระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 เข้ามาประยุกต์ใช้ในกระบวนการบริหารจัดการภายในหน่วยงาน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงาน และพัฒนาคุณภาพ การให้บริการที่ได้มาตรฐาน  โดยสำนักวิทยบริการฯ ต้องดำเนินการตรวจติดตาม ประเมินผลการดำเนินงานตามกระบวนการและข้อกำหนดของระบบคุณภาพมาตรฐานเป็นประจำอย่างต่อเนื่องทุกปี
    การดำเนินงานตามกระบวนการระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001:2015 ต้องมีการจัดการระบบงานเอกสารให้สอดคล้องตามข้อกำหนดของระบบการบริหารคุณภาพ และกระบวนการในการทำงาน มีการสร้างและปรับปรุงเอกสาร มีการจัดเก็บและควบคุมเอกสารอย่างเป็นระบบ เช่น คู่มือคุณภาพ เอกสารระเบียบปฏิบัติงาน วิธีปฏิบัติงาน เอกสารสนับสนุนการปฏิบัติงาน ซึ่งองค์กรจะต้องนำเอกสารตามกระบวนการของระบบบริหารคุณภาพที่ได้จัดทำขึ้น ไปใช้จริงให้เกิดประสิทธิผล มีการขึ้นทะเบียนและประกาศใช้เอกสาร ให้มีการบันทึกผลการปฏิบัติงานตามที่เขียนไว้ และสามารถพัฒนาปรับปรุงแก้ไขเอกสารให้สามารถนำไปปฏิบัติได้จริงตามความเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ จากผลการดำเนินงานที่ผ่านมาพบว่า บุคลากรส่วนหนึ่งยังไม่เข้าใจถึงกระบวนการ ขั้นตอน และแนวทางปฏิบัติในการจัดการเอกสารที่ชัดเจน ได้มีการแก้ไขปรับปรุงแบบฟอร์มและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการทำงานตามที่ขึ้นทะเบียนเอกสารไว้ แล้วไม่ได้แจ้งขอแก้ไขปรับปรุงเอกสาร และพบว่าบางแบบฟอร์มได้มีการยกเลิก ไม่ใช้ หรือมีการจัดทำขึ้นใหม่ แต่ไม่ได้แจ้งขอขึ้นทะเบียนเอกสาร และไม่ได้แจ้งให้ผู้รับบริการหรือผู้เกี่ยวข้องให้รับทราบ จึงทำให้เกิดความผิดพลาดในการทำงานเนื่องจากเอกสารที่นำมาใช้ในการปฏิบัติงานไม่ตรงกัน
    จากความเป็นมาและความสำคัญดังกล่าว ผู้เขียนจึงได้มาเขียนผลงานวิเคราะห์ เรื่อง วิเคราะห์การจัดทำเอกสารระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ เพื่อศึกษาวิเคราะห์กระบวนการ และปัญหา อุปสรรค ในการจัดทำเอกสารให้สอดคล้องและเป็นไปตามข้อกำหนดของระบบบริหารงานคุณภาพ

  • project name

    การใช้และความต้องการทรัพยากรสารสนเทศของอาจารย์ประจำหลักสูตร ในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์


    เจ้าของวิจัย บุสดี หมื่นขัน ,จริยา ทิพย์หทัย
    โพสต์โดย จริยา ทิพย์หทัย | 25 มกราคม 2565

    บทคัดย่อ
    การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาถึงความเพียงพอของทรัพยากรสารสนเทศและปัญหา ในการใช้ทรัพยากรสารสนเทศของอาจารย์ประจำหลักสูตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ โดยประชากรที่ใช้ในการวิจัยคืออาจารย์ประจำหลักสูตรในมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ จำนวน 55 หลักสูตร ขณะที่กลุ่มตัวอย่างมีจำนวน ทั้งสิ้น 50 หลักสูตร ในส่วนของแบบสอบถามเพื่อประเมินความต้องการจะเป็นแบบมาตรวัดของไลเคิร์ท 5 ระดับ ผลจากการวิจัยพบว่าอาจารย์ประจำหลักสูตร ส่วนใหญ่มีวัตถุประสงค์ในการใช้สารสนเทศเพื่อการสอน มีความถี่การใช้ ห้องสมุดอยู่ที่ 1-2 ครั้งต่อเดือน และเข้าใช้บริการไม่เป็นเวลา โดยทรัพยากรสารสนเทศที่ต้องการมากที่สุดได้แก่ วารสารวิชาการและหนังสือวิชาการทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และต้องการใช้ทรัพยากรสารสนเทศทางวิชาการ มากกว่าทรัพยากรสารสนเทศเพื่อความบันเทิงส่วนปัญหาการใช้ห้องสมุดสามารถจำแนกเป็น 5 ด้าน ปัญหาเด่นที่พบ คือ 1) เรื่องบรรยากาศและสภาพแวดล้อมของพื้นที่การบริการ 2) เรื่องช่วงเวลาเปิดบริการ 3) เรื่องความเพียงพอและ ความทันสมัย 4) เรื่องจิตบริการของผู้ให้บริการ และ 5) เรื่องสมรรถนะและประสิทธิภาพของเครื่องคอมพิวเตอร์

    • ‹
    • 1
    • 2
    • ›

เอกสารเผยแพร่ในหน่วยงาน

  • คู่มือการปฏิบัติงาน

องค์ความรู้

  • ด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
    • คอมพิวเตอร์ การพัฒนาระบบสารสนเทศ (4)
    • การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ (0)
  • ด้านคอมพิวเตอร์
    • งานเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (อินเทอร์เน็ต) (13)
    • การซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์ (0)
  • ด้านห้องสมุด
    • งานบริการตรวจและรับฝากสิ่งของ (0)
    • งานบริการสารสนเทศ (8)
    • งานบริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (0)
    • การบริการยืม-คืนสื่อโสตทัศน์ (0)
    • งานบริการสื่อโสตทัศน์ (3)
    • การจัดทำดรรชนีวารสาร (0)
    • งานวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (2)
    • การบริการยืม-คืนหนังสือ (4)
    • การจัดเรียงหนังสือบนชั้น (1)
    • การลงรายการหนังสือและทรัพยากรห้องสมุดฯ (0)
    • ระบบห้องสมุดอัตโนมัติ (2)
    • การแบ่งหมวดหมู่หนังสือ (0)
    • การจัดซื้อ-จัดหาทรัพยากรห้องสมุด (1)
    • การจัดการห้องสมุด (2)
  • ด้านการบริหารจัดการ
    • คุณภาพมาตรฐาน (ISO 9001:2008 และ ISO 9001:2015) (3)
    • ระบบบริหารงาน (9)
    • งานการคลังและพัสดุ (0)
    • งานสารบรรณ (1)
    • งานการจัดประชุม (0)
    • งานธุรการ (1)
    • งานนโนบายและแผนงาน (1)
  • ด้านการบริการการศึกษา และด้านการบริการวิชาการ
    • การฝึกอบรมออนไลน์ (0)
    • การฝึกอบรม (9)
    • การสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ (5)
    • การเขียนรายงานทางวิชาการ (0)
    • การเขียนคู่มือปฏิบัติงาน (4)
    • การเขียนอ้างอิงทางบรรณานุกรม (0)
    • การใช้ฐานข้อมูลออนไลน์และฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ (0)
    • การสืบค้นข้อมูล (0)
    • การใช้แหล่งสารสนเทศ (0)
    • การเรียนการสอนออนไลน์ (0)
    • อีเลิร์นนิ่ง (0)
  • ด้านโสตทัศนศึกษา
    • การบำรุงรักษาโสตทัศนูปกรณ์ (0)
    • การใช้อุปกรณ์โสตทัศนศึกษา (0)
  • ด้านการวิจัย
    • การเขียนบทความวิจัย (0)
    • การนำเสนอผลงานวิจัย (0)
    • การเขียนโครงร่างงานวิจัย (0)
    • งานวิจัย R2R (3)
  • ด้านสังคม ศิลปะ และวัฒนธรรม
    • วัฒนธรรมการกินอาหาร (0)
    • วัฒนธรรมการแต่งกาย (0)
    • มารยาทในสังคม (0)
    • ประเพณี (0)
    • สังคมและวัฒนธรรม (0)

ความรู้ 10 เรื่องล่าสุด

  • ห้องสมุดยุคใหม่ใส่ใจรักษ์โลก

    06 มกราคม 2568
  • ทำความรู้จักกับ Threat Actor ผู้ร้ายในโลกดิจิทัล

    06 มกราคม 2568
  • Knowledge Management การจัดการความรู้ ปีการศึกษา 2567 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ

    06 มกราคม 2568
  • การใช้งาน Microsoft Authenticator

    21 ธันวาคม 2567
  • น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักสารพัดประโยชน์

    21 ธันวาคม 2567
  • BITLOCKER คิออะไร

    21 ธันวาคม 2567
  • การทบทวนการดำเนินงานตามข้อกำหนดระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2015: สรุปผลการอบรม

    19 ธันวาคม 2567
  • การจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน

    19 ธันวาคม 2567
  • สอบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้านด้านคอมพิวเตอร์: เกณฑ์การผ่านการทดสอบ 60 คะแนน สอบอะไรบ้าง

    19 ธันวาคม 2567
  • หนังสือดิจิทัล EBSCO eBooks

    19 ธันวาคม 2567

คำค้นหา

ทัศนคติ ISO 9001:2008 การใช้ ความต้องการ ทรัพยากรสารสนเทศ อาจารย์ประจำหลักสูตรมหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ การวิเคราะห์งาน การจัดการเอกสาร ระบบบริหารงานคุณภาพ มาตรฐาน ISO 9001 คู่มือปฏิบัติงาน Work Manual บุคลากร ระบบบริหารงาน ระบบบริหารคุณภาพ มาตรฐาน ISO 9001:2008 ทัศนคติ การรับรู้ ความรู้สึก พฤติกรรม สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ มาตรฐาน ISO 9001:2015 คู่มือการปฏิบัติงาน คู่มือการปฏิบัติงานหลัก เอกสารทางวิชาการ การเขียนผลงานทางวิชาการ การเขียนผลงาน ผลงานทางวิชาการ การเขียนทางวิชาการ คู่มือการทำงาน การเขียนผลงานทางวิชาการ คู่มือปฏิบัติงาน วิจัย วิจัยปฏิบัติการ Research Routine to Research R2R อาร์ทูอาร์ การใช้ห้องสมุด การจัดเรียงหนังสือบนชั้น การค้นหาหนังสือ การจัดหมวดหมู่หนังสือ ระบบสารสนเทศ การพัฒนาเว็บไซต์ ระบบประตูห้องสมุดอัตโนมัติ การใช้เครื่องจักรกลกับห้องสมุด งานบริการของห้องสมุด บริการยืม-คืนหนังสือ ห้องสมุดและบริการของห้องสมุด การบริการ ยุค New Normal การสอบประกันคุณภาพด้านคอมพิวเตอร์ งานบริการวิชาการ งานบริการวิชาการด้านคอมพิวเตอร์ การสอบออนไลน์ การจัดทำแผนปฏิบัติการ แผนปฏิบัติการประจำปี Action Plan การสร้างแบบสอบถาม แบบสอบถาม แบบสอบถามออนไลน์ การออกแบบและสร้างแบบสอบถาม Mac Address ตัวเลขฐาน 16 การระบุตัวตนของอุปกรณ์ ตัวเลขเฉพาะของอุปกรณ์ ระบบเครือข่ายคอมพิวเตอร์ ระบบเครือข่ายสารสนเทศ งานบริการสื่อโสตทัศน์ งานบริการห้องสมุด บริการสื่อโสตทัศน์ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ โปรแกรมตกแต่งรูปภาพ คอมพิวเตอร์กราฟิก ความรู้ด้านคอมพิวเตอร์ WINDOWS (COMPUTER PROGRAMS) โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ไมโครซอฟต์วินโดวส์ ระบบปฏิบัติการ (คอมพิวเตอร์) วินโดวส์ (โปรแกรมคอมพิวเตอร์) วารสาร วารสารอิเล็กทรอนิกส์ วารสารออนไลน์ e-Journal Line Notification ระบบควบคุมอัจฉริยะ ระบบการแจ้งเตือน ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ ระบบการจัดซื้อจัดจ้าง ระบบติดตามการจัดซื้อจัาง ระบบติดตามเอกสารการจัดซื้อจัดจ้าง บริการยืมระหว่างห้องสมุด ความร่วมมือระหว่างห้องสมุด เครือข่ายห้องสมุด บริการสารสนเทศ สหบรรณานุกรม UCTAL Union Catalog of Thai Academic Libraries งานสารบรรณ ระบบสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ สารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ ระบบงานสารบรรณอิเล็กทรอนิกส์ NSRU Office มาตรฐานและเทคโนโลยีความเร็ว เทคโนโลยี Thunderbolt การถ่ายข้อมูลด้วยความเร็วสูง ธันเดอร์โบลต์ มาตรฐานการส่งถ่ายข้อมูล การอ้างถึงทางบรรณานุกรม การอ้างอิงทางวิชาการ การเขียนรายการอ้างอิง การเขียนบรรณานุกรม การอ้างอิงบรรณานุกรม เอกสารอ้างอิง การประกันคุณภาพการศึกษาภายใน ตัวบ่งชี้ ประกันคุณภาพการศึกษา การบริหารการศึกษา การประเมินผลทางการศึกษา ฐานข้อมูลทรัพยากรห้องสมุด รายการบรรณานุกรม ฐานข้อมูลสหบรรณานุกรม Union Catalog อินเทอร์เน็ตไร้สาย เครือข่ายโรมมิ่งสำหรับสถาบันการศึกษา eduroam educational roaming ฐานข้อมูล ThaiLIS ฐานข้อมูลวิทยานิพนฑ์ฉบับเต็ม ฐานข้อมูลงานวิจัยฉบับเต็ม เครือข่ายห้องสมุดสถาบันอุดมศึกษาไทย โปรแกรม ai (artificial intelligence) โปรแกรมอัจฉริยะ นวัตกรรมทางเทคโนโลยี ปัญญาประดิษฐ์ การประมวลผลข้อมูล สั่งงานมือถือด้วยเสียงผ่าน AI การจัดหาทรัพยากรสารสนเทศ การจัดหาทรัพยากรห้องสมุด การเลือกหนังสือ งานบริการห้องสมุด งานบริการสารสนเทศห้องสมุด ระบบสืบค้นห้องสมุดอัตโนมัติ ระบบสืบค้นห้องสมุด Digital Literacy ทักษะการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ทักษะด้านดิจิทัล โปรแกรมแปลงเอกสาร ISO 9001 ไอเอสโอ 9001 มาตรฐานประกันคุณภาพ ประกันคุณภาพมาตรฐาน การควบคุมคุณภาพมาตรฐาน ห้องสมุดอัตโนมัติ กฤตภาค ข่าวหนังสือพิมพ์ ฐานข้อมูลกฤตภาค เว็บแอปพลิเคชัน การจัดการความรู้ การบ่งชี้ความรู้ การเข้าถึงความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ Web Application Knowledge Management Knowledge Identification Knowledge Access Knowledge sharing เครือข่ายคอมพิวเตอร์ อินเทอร์เน็ต การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การจัดการความรู้ภายในองค์กร การซ่อมบำรุงหนังสือ การบริการสารสนเทศ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ บริการยืมทรัพยากรสารสนเทศ สื่อการสอน เทคโนโลยีสารสนเทศ ลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ ลายมือชื่อดิจิทัล ระบบการลาออนไลน์ การเขียนอ้างอิงทางวิชาการ การเข้าสู่ตำแหน่งของบุคลากรสายสนับสนุนวิชาการ การจัดการขยะ ห้องสมุดสีเขียว การจัดการสำนักงาน สำนักงานสีเขียว การสื่อสารและประชาสัมพันธ์ เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ งานธุรการ งานสารบรรณ สำนักงานสีเขียว การเขียนอ้างอิงทางวิชาการ โปรแกรมอัจฉริยะ บริการทรัพยากรสารสนเทศ หนังสือดิจิทัล การจัดการสำนักงานและสิ่งแวดล้อม ความมั่นคงปลอดภัยของสารสนเทศ การบริการสื่อโสตทัศน์
โครงสร้างการบริหาร
1. สำนักงานผู้อำนวยการ
กลุ่มงานบริหารและเลขานุการ (2)
กลุ่มงานนโยบายและแผนงาน (1)
กลุ่มงานการคลังและพัสดุ (1)
กลุ่มงานประกันคุณภาพและประชาสัมพันธ์ (1)
2. ศูนย์วิทยบริการ
กลุ่มงานพัฒนาทรัพยากรสารสนเทศ (5)
กลุ่มงานวิเคราะห์ทรัพยากรสารสนเทศ (3)
กลุ่มงานวารสารและสิ่งพิมพ์ต่อเนื่อง (2)
กลุ่มงานบริการและกิจกรรม (3)
กลุ่มงานนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ (5)
3. ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
กลุ่มงานวิชาการคอมพิวเตอร์ (2)
กลุ่มงานระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย (5)
กลุ่มงานพัฒนาระบบสารสนเทศ (4)
กลุ่มงานบริการคอมพิวเตอร์และอินเทอร์เน็ต (1)
กลุ่มงานผลิตสื่อการเรียนออนไลน์ (1)

Follow Us

คู่มือดำเนินงานล่าสุด
  • คู่มือการปฏิบัติงาน เรื่อง งานตรวจสอบ เฝ้าระวังระบบคอมพิวเตอร์และเครือข่าย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (2565)
  • งานพัฒนาระบบสารสนเทศ ระบบแฟ้มสะสมผลงาน (สำหรับบุคลากรสายวิชาการ) (2566)
  • คู่มือปฏิบัติงาน การซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ งานระบบเครือข่าย (2567)
  • คู่มือปฏิบัติงาน เรื่อง ระบบการจัดงานฝึกอบรม NSRU Training มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (2567)
  • คู่มือปฏิบัติงานการซ่อมบำรุงคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ (2566)
  • คู่มือการปฏิบัติงาน การคัดทรัพยากรสารสนเทศประเภทหนังสือออกจากห้องสมุด (2566)
  • คู่มือการปฏิบัติงาน การให้บริการสื่อโสตทัศน์ของศูนย์วิทยบริการ (2566)
  • งานพัฒนาระบบสารสนเทศเพื่อการจัดทําเว็บไซต์หน่วยงานภายใน มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (2566)
  • คู่มือการปฏิบัติงาน งานพัฒนาระบบสารสนเทศ สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (2566)
  • คู่มือการปฏิบ้ติงาน การเตรียมทรัพยากรสารสนเทศ ประเภทหนังสือ ก่อนนำออกบริการ (2566)
  • คู่มือปฏิบัติงาน การจัดการเอกสารเพื่อรับการตรวจรับรองตามมาตรฐานคุณภาพ ISO 9001:2015 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (ฉบับปรับปรุง 2565)
  • คู่มือการปฏิบัติงาน การให้บริการยืม-คืนทรัพยากรสารสนเทศของศูนย์วิทยบริการ (2565)
  • รายการบล็อกล่าสุด
  • ห้องสมุดยุคใหม่ใส่ใจรักษ์โลก
  • ทำความรู้จักกับ Threat Actor ผู้ร้ายในโลกดิจิทัล
  • Knowledge Management การจัดการความรู้ ปีการศึกษา 2567 สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
  • การใช้งาน Microsoft Authenticator
  • น้ำหมักชีวภาพ น้ำหมักสารพัดประโยชน์
  • BITLOCKER คิออะไร
  • การทบทวนการดำเนินงานตามข้อกำหนดระบบคุณภาพมาตรฐาน ISO9001:2015: สรุปผลการอบรม
  • การจัดทำโครงการบริการวิชาการแก่ชุมชน
  • สอบประกันคุณภาพการศึกษาเกี่ยวกับความรู้ความสามารถด้านด้านคอมพิวเตอร์: เกณฑ์การผ่านการทดสอบ 60 คะแนน สอบอะไรบ้าง
  • หนังสือดิจิทัล EBSCO eBooks
  • เรื่องที่คนอ่าน 10 เรื่องมากที่สุด
  • การพัฒนาเว็บแอปพลิเคชันสำหรับการจัดการความรู้ของสํานักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (3447)
  • การเข้าใช้งาน ThaiLIS Digital Collection (TDC) (3384)
  • การวิเคราะห์การจัดทำเอกสารระบบบริหารงานคุณภาพมาตรฐาน ISO 9001 ของสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์ (3245)
  • จากมาตรฐาน ISO9001-2018 สู่เวอร์ชัน 2015 (3143)
  • แผนการจัดการความรู้ KM (Knowledge Management) การจัดทำคู่มือปฏิบัติงาน (2915)
  • การเขียนรายการอ้างอิงและบรรณานุกรม (2909)
  • การส่งเสริมการให้บริการในการคัดเลือกทรัพยากรสารสนเทศเข้าหอสมุด (2904)
  • ระบบสนับสนุนการสืบค้นทรัพยากรฯ ของศูนย์วิทยบริการ (2848)
  • ทัศนคติต่อระบบบริหารงานตามมาตรฐาน ISO 9001-2008 ของบุคลากรสำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ (2833)
  • Library 4.0 ยืมหนังสือได้ผ่านเครื่องยืมอัตโนมัติ (2790)
  • ผู้ที่เขียนบทความจำนวนมากที่สุด
  • ปารวี เรืองจุติโพธิ์พาน (157)
  • กุลณัฏฐา ธัญรัฐวุฒินนท์ (155)
  • ปิยพนธ์ ปั้นนาค (155)
  • ไพรสุดา ปานพรม (153)
  • กัญญา สิงหบุตร (149)
  • วุฒิพงศ์ ฝ่ายอุปละ (146)
  • นิตยา ทวีศักดิ์วนาไพร (143)
  • ดวงพร สีระวัตร (142)
  • ณัฐชนันท์ สนธิรักษ์ (139)
  • สุณิสา อ่อนฉ่ำ (138)
  • วิชชากร คูหาทอง (137)
  • กาญจนา อยู่ประยงค์ (133)
  • สุวิศาล ทับแสง (132)
  • วิภารัตน์ ศรีเพ็ชร (130)
  • สุมนฒ์ จิรพัฒนพร (128)
  • กษิดิศ ประมวลกมล (127)
  • รุ่งนภา สาจิตร (125)
  • วรวิช คุ้มปาน (120)
  • สุภรัตน์ กรุดฉ่ำ (119)
  • Copyright © 2021 ARITC. All rights reserved.